‘วิทยาศาสตร์ธรรมชาติ’ คือ สาขาหนึ่งของวิทยาศาสตร์ที่ศึกษาเกี่ยวกับธรรมชาติ สำหรับยุคก่อน การให้คำนิยามความหมาย คือ สาขาหนึ่งที่ศึกษาเกี่ยวกับโลกรวมทั้งสิ่งต่างๆรอบๆ ตัว หรือธรรมชาตินั่นเอง มาทำความเข้าใจกับ ‘วิทยาศาสตร์ธรรมชาติ’ กันให้มากขึ้น โดยวิทยาศาสตร์ธรรมชาติ จัดเป็นพื้นฐานหนึ่งของวิทยาศาสตร์ประยุกต์ ซึ่งมีเป้าหมายอันยิ่งใหญ่ ใช้ในการอธิบายการทำงานของโลกด้วยธรรมชาติ นอกจากนี้วิทยาศาสตร์ธรรมชาติยังถูกนำมาใช้ เพื่อแยกแยะ ‘วิทยาศาสตร์ ’ ให้ออกจากปรัชญาธรรมชาติอีกด้วย หากแต่ในปัจจุบันคำว่า ‘วิทยาศาสตร์ธรรมชาติ’ ถูกนำมาใช้ในความหมาย ทางด้านวิทยาศาสตร์ชีวภาพที่มีความสนใจต่อกระบวนการทางชีวภาพ ในลักษณะแตกต่างกันไปจากวิทยาศาสตร์กายภาพ วิทยาศาสตร์ธรรมชาติ แบ่งออกเป็นกลุ่มใหญ่ๆได้เป็น 2 กลุ่ม คือ… • วิทยาศาสตร์กายภาพ ศึกษาสิ่งไม่มีชีวิต เช่น ฟิสิกส์, เคมี, ดาราศาสตร์, ธรณีวิทยา เป็นต้น • วิทยาศาสตร์ชีวภาพ ศึกษาสิ่งมีชีวิตต่างๆ โดยสามารถแบ่งย่อยออกเป็น 2 กลุ่ม ได้แก่…กลุ่มพฤกษศาสตร์ ศึกษาต้นไม้เละพืชทุกชนิด กลุ่มสัตวศาสตร์ ศึกษาสัตว์ทุกชนิด นอกจากวิทยาศาสตร์ธรรมชาติแล้ว ยังมีวิทยาศาสตร์เกิดขึ้นอีก 3 ประเภท ได้แก่… 1. วิทยาศาสตร์สังคม คือ การศึกษาธรรมชาติของมนุษย์ในสังคม 2. วิทยาศาสตร์อัตภาพ คือ การศึกษาธรรมชาติของจิตมนุษย์รวมทั้งปรากฏการณ์ทางจิตใจต่างๆ 3. วิทยาศาสตร์ประยุกต์ คือ การประยุกต์ศาสตร์จากวิทยาศาสตร์ธรรมชาติ มาต่อยอดสร้างประโยชน์ให้เกิดแก่มนุษย์รวมทั้งทำให้การดำรงชีวิตดีขึ้น โดยสาเหตุที่วิทยาศาสตร์พัฒนาตัวเองได้อย่างรวดเร็ว เหตุผลก็คือ วิทยาศาสตร์มีหลักการสำคัญที่เป็นเครื่องมือ ซึ่งจะช่วยให้ศาสตร์นี้มีความแข็งแกร่งและมั่นคงมากขึ้น นั่นก็คือ… 1. วิทยาศาสตร์มีความเชื่อพื้นฐาน ปรากฎการณ์ต่างๆ ที่เกิดขึ้นในธรรมชาติ เต็มไปด้วยกฎเกณฑ์หรือระเบียบต่างๆ ซึ่งสามารถค้นพบได้ถ้าผู้ค้นพบ มีความสามารถมากพอ โดยอาจใช้วิธีทางวิทยาศาสตร์ก็ได้ เช่น การเปรียบเทียบ, การจำแนก, การวิเคราะห์, การทดลอง, การพิสูจน์ เป็นต้น 2. วิทยาศาสตร์มีความเชื่อเรื่องการค้นพบความจริง ได้มาจากการสังเกต หรือ จากการทดลอง เป็นต้น 3. นักวิทยาศาสตร์ยึดถือเรื่อง ปรากฎการณ์ที่สังเกตได้เท่านั้น โดยปรากฎการณ์ใดที่ยังไม่อาจวัดได้ โดยเฉพาะปรากฎการณ์ทางจิตวิญญาณ จึงไม่อยู่ในวิสัยที่จะศึกษาได้ 4. การทดลองจะต้องมีการยอมรับระดับสากล จากหลักการข้อนี้นักวิทยาศาสตร์จะพิสูจน์ผลงานของนักวิทยาศาสตร์คนอื่นๆ ด้วยการศึกษาหรือทดลองซ้ำ ซึ่งถ้ามีผลลัพธ์แบบเดียวกันทุกครั้ง การค้นพบครั้งนั้นก็จะได้รับการยอมรับ 5. วิทยาศาสตร์ใช้ทฤษฎีเป็นเครื่องมือในการอธิบาย การเกิดปรากฎการณ์ต่างๆ ในทางทฤษฎียังสามารถใช้การพยากรณ์ถึงสิ่งที่จะเกิดขึ้นในอนาคตได้อีกด้วย ตัวอย่างเช่น กฎแห่งแรงโน้มถ่วง , กฎแห่งการดึงดูดกัน เป็นต้น นอกจากนี้ถ้ามีการพบว่าปรากฎการณ์ในอดีตที่เคยได้รับการพิสูจน์มาแล้ว สามารถถูกหักล้างได้ด้วยแนวความคิดใหม่ๆ เพราะสิ่งต่างๆมีการเปลี่ยนแปลงไปทุกวัน ทำให้วิทยาศาสตร์เองก็ต้องเปลี่ยนไปด้วย ไม่หยุดนิ่งอยู่กับที่

‘วิทยาศาสตร์ธรรมชาติ’ คือ สาขาหนึ่งของวิทยาศาสตร์ที่ศึกษาเกี่ยวกับธรรมชาติ สำหรับยุคก่อน การให้คำนิยามความหมาย คือ สาขาหนึ่งที่ศึกษาเกี่ยวกับโลกรวมทั้งสิ่งต่างๆรอบๆ ตัว หรือธรรมชาตินั่นเอง

มาทำความเข้าใจกับ วิทยาศาสตร์ธรรมชาติกันให้มากขึ้น

โดยวิทยาศาสตร์ธรรมชาติ จัดเป็นพื้นฐานหนึ่งของวิทยาศาสตร์ประยุกต์ ซึ่งมีเป้าหมายอันยิ่งใหญ่ ใช้ในการอธิบายการทำงานของโลกด้วยธรรมชาติ นอกจากนี้วิทยาศาสตร์ธรรมชาติยังถูกนำมาใช้ เพื่อแยกแยะ ‘วิทยาศาสตร์ ’ ให้ออกจากปรัชญาธรรมชาติอีกด้วย หากแต่ในปัจจุบันคำว่า ‘วิทยาศาสตร์ธรรมชาติ’ ถูกนำมาใช้ในความหมาย ทางด้านวิทยาศาสตร์ชีวภาพที่มีความสนใจต่อกระบวนการทางชีวภาพ ในลักษณะแตกต่างกันไปจากวิทยาศาสตร์กายภาพ

วิทยาศาสตร์ธรรมชาติ แบ่งออกเป็นกลุ่มใหญ่ๆได้เป็น 2 กลุ่ม คือ…

  • วิทยาศาสตร์กายภาพ ศึกษาสิ่งไม่มีชีวิต เช่น ฟิสิกส์, เคมี, ดาราศาสตร์, ธรณีวิทยา เป็นต้น
  • วิทยาศาสตร์ชีวภาพ ศึกษาสิ่งมีชีวิตต่างๆ โดยสามารถแบ่งย่อยออกเป็น 2 กลุ่ม ได้แก่…กลุ่มพฤกษศาสตร์ ศึกษาต้นไม้เละพืชทุกชนิด กลุ่มสัตวศาสตร์ ศึกษาสัตว์ทุกชนิด

นอกจากวิทยาศาสตร์ธรรมชาติแล้ว ยังมีวิทยาศาสตร์เกิดขึ้นอีก 3 ประเภท ได้แก่…

  1. วิทยาศาสตร์สังคม คือ การศึกษาธรรมชาติของมนุษย์ในสังคม
  2. วิทยาศาสตร์อัตภาพ คือ การศึกษาธรรมชาติของจิตมนุษย์รวมทั้งปรากฏการณ์ทางจิตใจต่างๆ
  3. วิทยาศาสตร์ประยุกต์ คือ การประยุกต์ศาสตร์จากวิทยาศาสตร์ธรรมชาติ มาต่อยอดสร้างประโยชน์ให้เกิดแก่มนุษย์รวมทั้งทำให้การดำรงชีวิตดีขึ้น

โดยสาเหตุที่วิทยาศาสตร์พัฒนาตัวเองได้อย่างรวดเร็ว เหตุผลก็คือ วิทยาศาสตร์มีหลักการสำคัญที่เป็นเครื่องมือ ซึ่งจะช่วยให้ศาสตร์นี้มีความแข็งแกร่งและมั่นคงมากขึ้น นั่นก็คือ… betflik123

  1. วิทยาศาสตร์มีความเชื่อพื้นฐาน

ปรากฎการณ์ต่างๆ ที่เกิดขึ้นในธรรมชาติ เต็มไปด้วยกฎเกณฑ์หรือระเบียบต่างๆ ซึ่งสามารถค้นพบได้ถ้าผู้ค้นพบ มีความสามารถมากพอ โดยอาจใช้วิธีทางวิทยาศาสตร์ก็ได้ เช่น การเปรียบเทียบ, การจำแนก, การวิเคราะห์, การทดลอง, การพิสูจน์ เป็นต้น

  1. วิทยาศาสตร์มีความเชื่อเรื่องการค้นพบความจริง

ได้มาจากการสังเกต หรือ จากการทดลอง เป็นต้น

  1. นักวิทยาศาสตร์ยึดถือเรื่อง ปรากฎการณ์ที่สังเกตได้เท่านั้น

โดยปรากฎการณ์ใดที่ยังไม่อาจวัดได้ โดยเฉพาะปรากฎการณ์ทางจิตวิญญาณ จึงไม่อยู่ในวิสัยที่จะศึกษาได้

  1. การทดลองจะต้องมีการยอมรับระดับสากล

จากหลักการข้อนี้นักวิทยาศาสตร์จะพิสูจน์ผลงานของนักวิทยาศาสตร์คนอื่นๆ ด้วยการศึกษาหรือทดลองซ้ำ ซึ่งถ้ามีผลลัพธ์แบบเดียวกันทุกครั้ง การค้นพบครั้งนั้นก็จะได้รับการยอมรับ

  1. วิทยาศาสตร์ใช้ทฤษฎีเป็นเครื่องมือในการอธิบาย

การเกิดปรากฎการณ์ต่างๆ ในทางทฤษฎียังสามารถใช้การพยากรณ์ถึงสิ่งที่จะเกิดขึ้นในอนาคตได้อีกด้วย ตัวอย่างเช่น กฎแห่งแรงโน้มถ่วง , กฎแห่งการดึงดูดกัน เป็นต้น นอกจากนี้ถ้ามีการพบว่าปรากฎการณ์ในอดีตที่เคยได้รับการพิสูจน์มาแล้ว สามารถถูกหักล้างได้ด้วยแนวความคิดใหม่ๆ เพราะสิ่งต่างๆมีการเปลี่ยนแปลงไปทุกวัน ทำให้วิทยาศาสตร์เองก็ต้องเปลี่ยนไปด้วย ไม่หยุดนิ่งอยู่กับที่